ในปี 2558 ประเทศไทยจะเข้าร่วมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Co การแปล - ในปี 2558 ประเทศไทยจะเข้าร่วมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Co อังกฤษ วิธีการพูด

ในปี 2558 ประเทศไทยจะเข้าร่วมประชาค

ในปี 2558 ประเทศไทยจะเข้าร่วมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) พร้อมกับเพื่อนประเทศสมาชิกอาเซียนอีก 9 ประเทศ โดยมีข้อตกลงที่กลุ่มสมาชิกอาเซียนยอมรับร่วมกันในเรื่องคุณสมบัติหรือมาตรฐานในแต่ละวิชาชีพ (Mutual Recognition Arrangement : MRA) อยู่ด้วย ทั้งนี้ เพื่ออำนวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายนักวิชาชีพหรือแรงงานเชี่ยวชาญ หรือผู้มีความสามารถพิเศษของอาเซียนได้อย่างเสรี

จุดประสงค์ของ MRA ของอาเซียนก็เพื่ออำนวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายนักวิชาชีพ โดยอาเซียนตกลงกันว่าจะยอมรับคุณสมบัติเพื่ออำนวยความสะดวกในขั้นตอนการขอใบอนุญาต แต่ MRA ของอาเซียนจะยังไม่ไปถึงขั้นที่จะยอมรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพซึ่งกันและกัน และจะเน้นหลักว่านักวิชาชีพต่างด้าวจะต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบภายในของประเทศที่ตนต้องการเข้าไปทำงาน

วิศวกรไทยซึ่งมีคุณสมบัติตามที่กำหนดในความตกลง MRA (จบปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ มีประสบการณ์ทำงานอย่างน้อย 7 ปี รวมทั้งเคยได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมในประเทศไทยแล้ว) สามารถไปสมัครขอขึ้นทะเบียนเป็นวิศวกรวิชาชีพอาเซียนได้ จากนั้นเมื่อมีรายชื่อเป็นวิศวกรวิชาชีพอาเซียนแล้ว ก็สามารถไปสมัครกับสภาวิศวกรของประเทศอาเซียนอื่น เพื่อขึ้นทะเบียนเป็นวิศวกรต่างด้าวในประเทศนั้นๆ ซึ่งจะต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบภายในของประเทศนั้นๆ เช่น หากมาเลเซียกำหนดว่าต้องมีใบอนุญาต และจะต้องผ่านการสอบด้วย วิศวกรไทยที่สนใจจะไปทำงานในมาเลเซียก็จะต้องไปสอบเพื่อให้ได้ใบอนุญาตของมาเลเซีย

ในส่วนของ สถาปนิก จากข้อมูลล่าสุดของสภาสถาปนิก มีดังนี้

กฎหมายรองรับรัดกุม เพราะมีสภาสถาปนิกอาเซียนคอยรองรับ และกำหนดคุณสมบัติผู้ประกอบวิชาชีพสถาปนิกข้ามชาติแล้ว ข้อกำหนดที่ชัดเจนของสถาปนิกข้ามชาติ หลังการเปิด AEC นั้น ถูกกำหนดว่า ต้องมีคุณสมบัติหลายประการ ได้แก่

1) จบการศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์หลักสูตร 5 ปี
2) มีใบอนุญาตเป็นสถาปนิก
3) มีประสบการณ์อย่างน้อย 10 ปีนับแต่จบการศึกษา
4) เมื่อจบแล้วต้องทำงานโดยมีใบอนุญาตอย่างน้อย 5 ปี
5) มีการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมอย่างต่อเนื่อง (CDP)
6) ทำงานรับผิดชอบสถาปัตยกรรมสำคัญอย่างน้อย 2 ปี
7) ไม่เคยทำผิดมาตรฐานหรือจรรยาบรรณวิชาชีพ
8) ปฏิบัติตามข้อกำหนดของสภาสถาปนิกอาเซียน

เมื่อปี 2555 ไทยมีสถาปนิก 17,000 คน แบ่งตามใบอนุญาต 3 แบบ คือแบบสามัญ 1,857 คน แบบภาคี 14,159 คน และแบบวุฒิ 560 คน ขณะที่ต่างประเทศมีใบประกอบวิชาชีพเพียงแบบเดียว คือแบบสามัญ หากไทยต้องรวบเหลือใบเดียว เท่ากับว่าไทยจะเหลือสถาปนิกเพียง 1,857 คน

สำหรับการเตรียมความพร้อมของสาขาวิชาชีพ เพื่อรองรับการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของประเทศสมาชิกอาเซียน ตามข้อตกลงใน MRA มีดังต่อไปนี้

1. จัดทำกรอบการทำงานร่วมกันของสถาปนิกไทยกับสถาปนิกอาเซียน ภายใต้ข้อตกลงของสภาสถาปนิกอาเซียน ว่าด้วยการทำงานร่วมกันอย่างเท่าเทียม ซึ่งข้อตกลงดังกล่าวเป็นข้อตกลงร่วมกันภายใต้กรอบใหญ่ของ International Union of Architects: UIA ที่ระบุไว้อย่างชัดเจนว่า “การปฏิบัติงานในประเทศอื่นต้องมีการร่วมมือกับเจ้าของประเทศนั้น”

2. ดำเนินการจัดให้มีระบบการพัฒนาวิชาชีพต่อเนื่อง หรือที่เรียกว่า CPD (Continuing Professional Development) โดยความสมัครใจ สำหรับผู้ที่มีความประสงค์จะขึ้นทะเบียนเป็น “สถาปนิกอาเซียน”

3. แก้ไขกฎกระทรวงเพื่อให้เกิดการจ้างงานของคนต่างด้าวตามพระราชกฤษฎีกา เพื่อให้สถาปนิกต่างชาติสามารถเข้ามาทำงานในเมืองไทยได้ภายใต้เงื่อนไขของ MRA

ดังนั้น เป็นที่รับทราบแล้วว่า สาขาวิชาชีพสถาปัตยกรรมจะมีการเปิดเสรีในอาเซียนปี 2558 เราจะมีพันธมิตรและคู่แข่งในสาขาวิชาชีพสถาปัตยกรรม อาเซียนและประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) จึงเป็นโอกาสที่นักวิชาชีพของอาเซียนสาขาวิชาชีพสถาปัตยกรรมจะได้พันธมิตรวิชาชีพเดียวกันในภูมิภาค ในการถ่ายทอดองค์ความรู้ ประสบการณ์ และเทคโนโลยี รวมถึงการร่วมทุน ขณะเดียวกันทุกสาขาวิชาชีพที่ถูกกำหนดต้องปรับตัวพัฒนาวิชาชีพเชี่ยวชาญ เพิ่มทักษะด้านภาษาอังกฤษ ภาษาไทย และภาษาอาเซียน รวมถึงการเข้าใจเรื่องสังคมและคนอาเซียน เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกันได้และใช้ประโยชน์จากประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนได้อย่างสูงสุด สุดท้ายแล้วประชาชนทุกคนคือผู้บริโภค จะได้รับสินค้าและบริการที่มีคุณภาพ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจึงเป็นความหวังที่น่าท้าทายและเป็นจริงได้มากที่สุด



อ่านต่อ: http://www.thai-aec.com/840#ixzz2maMssIeg
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ใน ปี 2558 (ASEAN Economic community:AEC) 9 ประเทศ (Mutual recognition arrangement:mra) อยู่ ด้วย ทั้งนี้จุด ประสงค์ ของ mra แต่ mramra (จบ ปริญญา ตรี วิศวกรรมศาสตร์ มี ประสบการณ์ ทำงาน อย่าง น้อย 7 ปีเช่นและ จะ ต้อง ผ่าน การ สอบ ด้วย
ใน ส่วน ของ สถาปนิก จาก ข้อมูล ล่าสุด ของ สภา สถาปนิก มี ดังนี้

กฎหมาย รองรับ รัดกุม เพราะ มี สภา สถาปนิก อาเซียน คอย รองรับ หลัง การ เปิด AEC นั้น ถูก กำหนด ว่า ต้อง มี คุณสมบัติ หลาย ประการ
1) 5 ปี
2) มี ใบ อนุญาต เป็น สถาปนิก
3) มี ประสบการณ์ อย่าง น้อย 10 ปี นับ แต่ จบ การ ศึกษา
4) 5 ปี
5) (CDP)
6) 2 ปี
7) 2555 ไทย มี สถาปนิก 17,000 คน แบ่ง ตาม ใบ อนุญาต 3 แบบ คือ แบบ สามัญ 1,857 คน แบบ ภาคี 14,159 คน และ แบบ วุฒิ 560 คน คือ แบบ สามัญ หาก ไทย ต้อง รวบ เหลือ ใบ เดียว เท่ากับ ว่า ไทย จะ เหลือ สถาปนิก เพียง 1,857 คน

ตาม ข้อ ตกลง ใน mra มี ดัง ต่อ ไป นี้

1.ภาย ใต้ ข้อ ตกลง ของ สภา สถาปนิก อาเซียน international Union of Architects:kill ที่ ระบุ ไว้ อย่าง ชัดเจน ว่าหรือ ที่ เรียก ว่า CPD (continuing professional development) โดย ความ สมัคร ใจ "สถาปนิก อาเซียน"

3.mra

ดังนั้น เป็น ที่ รับ ทราบ แล้ว ว่า 2558 อาเซียน และ ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน (AEC)ใน การ ถ่ายทอด องค์ ความ รู้ ประสบการณ์ และ เทคโนโลยี รวม ถึง การ ร่วม ทุน เพิ่ม ทักษะ ด้าน ภาษา อังกฤษ ภาษา ไทย และ ภาษา อาเซียน


อ่าน ต่อ: http://www.thai-aec.com/840 # ixzz2mamssieg
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: